ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 5 (หะดีษที่ 2/3)

Submitted by dp6admin on Wed, 28/11/2018 - 21:34
หัวข้อเรื่อง
อีมาน คือ ความเชื่อและการปฏิบัติ (อะมั้ล)
อิสลามและอีมาน สัมพันธ์กันอย่างไร ?
อีมาน คือ ความเชื่อและการปฏิบัติ (อะมั้ล)
อะมั้ล(การปฏิบัติ) อยู่ใน "อีมาน"
ระหว่าง "มุอฺมิน" กับ "มุสลิม"
การปฏิเสธอิสลามและอีมาน เป็นมุสลิมไหม ?
อิสลามและอีมาน อยู่ร่วมกัน

วันที่บรรยาย
มีวีดีโอ
ไม่มี
รายละเอียด

อีมาน คือ ความเชื่อและการปฏิบัติ (อะมั้ล)

دخول الأعمال في الإيمان
อะมั้ล(การปฏิบัติ) อยู่ใน "อีมาน"

•    قد دلّ على دُخول الأعمالِ في الإيمان قولُه تعالى : { إِنَّمَا الْمُؤْمِنُونَ الَّذِينَ إِذَا ذُكِرَ اللهُ وَجِلَتْ قُلُوبُهُمْ وَإِذَا تُلِيَتْ عَلَيْهِمْ آيَاتُهُ زَادَتْهُمْ إِيمَاناً وَعَلَى رَبِّهِمْ يَتَوَكَّلُونَ الَّذِينَ يُقِيمُونَ الصَّلاةَ وَمِمَّا رَزَقْنَاهُمْ يُنْفِقُونَ أُولَئِكَ هُمُ الْمُؤْمِنُونَ حَقّاً }  .
8:2 แท้จริงบรรดาผู้ที่ศรัทธานั้นคือ ผู้ที่เมื่ออัลลอฮฺถูกกล่าวขึ้นแล้ว หัวใจของพวกเขาก็หวั่นเกรง และเมื่อบรรดาโองการของพระองค์ถูกอ่านแก่พวกเขา โองการเหล่านั้นก็เพิ่มพูนความศรัทธาแก่พวกเขา และแด่พระเจ้าของพวกเขานั้นพวกเขามอบหมายกัน
8:3 คือบรรดาผู้ที่ดำรงไว้ซึ่งการละหมาด และส่วนหนึ่งที่เราได้ให้เป็นปัจจัยยังชีพแก่พวกเขา พวกเขาก็บริจาค
8:4 ชนเหล่านี้แหละพวกเขาคือ ผู้ศรัทธาอย่างแท้จริง 

•    وفي " الصحيحين " عنِ ابنِ عبّاسٍ : أنّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - قال لوفدِ عبدِ القيسِ:(( آمركُم بأربعٍ : الإيمانِ بالله وحده ، وهل تدرونَ ما الإيمانُ بالله ؟ شهادةُ أنْ لا إله إلاّ الله ، وإقامِ الصّلاةِ ، وإيتاءِ الزكاةِ ، وصومِ رمضانَ ، وأنْ تُعطُوا من المَغنَمِ الخُمْسَ )) .
•    وفي " الصحيحين "  عن أبي هريرة - رضي الله عنه - ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - قال : (( الإيمانُ بِضعٌ وسَبعونَ ، أو بضعٌ وستُّون شُعبة ، فأفضلُها : قولُ لا إله إلا الله ، وأدناها إماطةُ الأذى عن الطريق ، والحياءُ شُعبةٌ من الإيمان )) ولفظه لمسلم .
- อีมาน 60 หรือ 70 กว่าจำพวก
มี 73 กว่าประเด็นในภาคปฏิบัติ ที่มีหลักฐานว่าเป็น "อีมาน" 
สูงสุดของอีมานคือการกล่าว ลาอิลาหะอิลลัลลอฮฺ, ต่ำสุดคือนำสิ่งกีดขวางออกจากทางเดิน, ความละอายเป็นส่วนหนึ่งจากอีมาน

•    وفي " الصحيحين "  عن أبي هُريرة ، عنِ النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( لا يزني الزّاني حينَ يزني وهو مُؤمنٌ ، ولا يَسرقُ السّارق حين يسرق وهو مؤمنٌ ، ولا يشرب الخمر حينَ يشربها وهو مؤمنٌ )) فلولا 
أنَّ تركَ هذه الكَبَائِرَ مِنْ مُسمَّى الإيمان لما انتفى اسمُ الإيمانِ عن مرتكبِ شيءٍ منها ؛ لأنَّ الاسمَ لا ينتفى إلاَّ بانتفاءِ بعض أركانِ المسمّى ، أو واجباتِه.
- การละทิ้งบาปใหญ่(กะบีเราะฮฺ) ก็เป็นอีมาน

إذا اجتمعا افترقا وإذا افترقا اجتمعا
2 คำที่อยู่ด้วยกัน และ 2 คำที่แยกกัน

- ถ้ามีอายะฮฺหรือหะดีษ ระบุ "อิสลาม" และ "อีมาน" แสดงว่าความหมายต่างกัน อิสลามคือปฏิบัติ อิมานคือความเชื่อ
- แต่ถ้าระบุอย่างเดียว เช่น "อิสลาม" ก็หมายรวมทั้ง ปฏิบัติและศรัทธา ถ้าระบุ "อีมาน" อย่างเดียวหมายรวมถึง ศรัทธาและปฏิบัติด้วย

•    وأما وجهُ الجمعِ بينَ هذه النُّصوص فإنَّه يتضح بتقريرِ أصلٍ أن بعض الأسماء إذا اجتمعت افترقت وإذا افترقت اجتمعت مثل الإسلام والإيمان والفقير والمسكين .
•    وقد صرَّح بهذا المعنى جماعةٌ مِنَ الأئمّةِ مثل  أبو بكر الإسماعيليُّ والخطابيُّ في كتابه " معالم السنن " ، وتَبِعَهُ عليه جماعةٌ من العُلَماء من بعده .
•    ويدلُّ على صحَّةِ ذلك أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - فَسَّرَ الإيمانَ عند ذكرِه مفرداً في حديث وفد عبدِ القيسِ بما فسّر به الإسلامَ المقرونَ بالإيمانِ في حديثِ جبريلَ، وفسَّر في حديثٍ آخرَ الإسلامَ بما فسّر به الإيمانَ ، 
หะดีษที่นบีสอน วัฟดฺ อับดุลก๊อยส์ นบีสั่ง 4 ประการคือ ชะฮาดะฮฺ ละหมาด ถือศีลอด และซะกาต

كما في " مسند الإمام أحمد " عن عمرو بن عَبسة ، قال : جاءَ رجلٌ إلى النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - فقال : يا رسول الله ، ما الإسلامُ ؟ قال : (( أنْ تُسْلِمَ قلبَكَ للهِ ، وأنْ يسلمَ المسلمونَ مِنْ لِسَانِكَ ويَدكَ )) ، قال : فأي الإسلام أفضلُ ؟ قال: (( الإيمان )) . قال: وما الإيمان ؟ قال : (( أنْ تُؤْمِنَ باللهِ ، وملائكته ، وكُتبهِ ، ورُسلِه ، والبعثِ بعدَ الموتِ )) . قال : فأيُّ الإيمانِ أفضلُ ؟ قال : (( الهِجْرَةُ )) . قال : فما الهجرةُ ؟ قال : (( أن تَهجُر السُّوءَ )) ، قال : فأيُّ الهِجْرةِ أفضلُ ؟ قال : (( الجهاد )) . فجعل النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - الإيمانَ أفضلَ الإسلامِ ، وأدخلَ فيه الأعمالَ.
อิสลามคืออะไร ? คือ มอบหมายหัวใจแด่อัลลอฮฺ, มุสลิมีนปลอดภัยจากลิ้นและมือของท่าน
นบีถือว่า "อีมาน" คือสิ่งที่ประเสริฐยิ่งของอิสลาม และนำสิ่งต่างๆมาบรรจุใน "อีมาน"

الإسلام العمل والإيمان تصديق القلب
อิสลามคือการปฏิบัติ อีมานคือเชื่อด้วยหัวใจ

•    والتَّحقيق في الفرق بين الإيمان والإسلام إذا اجتمعا أنَّ الإيمانَ هو تصديقُ القلبِ ، وإقرارُهُ ، ومعرفته ، والإسلامُ : هو استسلامُ العبدِ للهِ ، وخُضُوعُه ، وانقيادهُ له ، وذلك يكونُ بالعملِ .
วิเคราะห์แล้วสรุปได้ว่า ถ้า อิสลามกับอีมาน รวมในบทเดียวกัน อีมานนั้นคือเชื่อด้วยหัวใจ, การรู้จักด้วยหัวใจ
อิสลามคือ การนอบน้อมต่ออัลลอฮฺ, การยอมรับบัญชาของพระองค์, การปฏิบัติโดยไม่มีข้อขัดข้อง, นั่นจะไม่เกิดขึ้นเว้นแต่ปฏิบัติ

•    وفي " مسند الإمام أحمد " عَنْ أنسٍ ، عن النَّبيِّ - صلى الله عليه وسلم - ، قال : (( الإسلامُ علانِيَةٌ ، والإيمانُ في القلبِ )) . وهذا لأنّ الأعمالَ تظهرُ علانيةً ، والتَّصديقُ في القلب لا يظهرُ . وكان النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - يقولُ في دعائه إذا صلّى على الميِّت : (( اللّهُمَّ مَنْ أحييتَهُ منّا فأحيهِ على الإسلامِ ، ومَن تَوفَّيتَهُ منّا فتوفَّه على الإيمان))؛ لأنَّ الأعمال بالجوارحِ إنَّما يُتَمكَّنُ منه في الحياةِ ، فأمّا عندَ الموتِ فلا يبقى غيرُ التَّصديق بالقلبِ .
"อิสลามคือการเปิดเผย" สิ่งที่เห็นเขาปฏิบัติ เช่น ละหมาด ถือศีลอด "แต่อีมานอยู่ในหัวใจ"
ท่านนบีกล่าวดุอาอฺเมื่อละหมาดจะนาซะฮฺ ขอดุอาอฺให้คนที่มาละหมาดจะนาซะฮฺ
(( اللّهُمَّ مَنْ أحييتَهُ منّا فأحيهِ على الإسلامِ ، ومَن تَوفَّيتَهُ منّا فتوفَّه على الإيمان))
"โอ้อัลลอฮฺผู้ใดในหมู่พวกเรา เมื่อเขามีชีวิตก็ขอให้มีชีวิตด้วยอิสลาม (ปฏิบัติอิบาดะฮฺ) และผู้หนึ่งผู้ใดในหมุ่พวกเรา เมื่อพระองค์ประสงค์ให้เขาสิ้นชีวิต ก็ขอให้สิ้นชีวิตด้วยอีมาน"

•    ومن هُنا قال المحقِّقون مِنَ العُلماءِ : كلُّ مُؤمِنٍ مُسلمٌ ، فإنَّ من حقَّق الإيمان ، ورسخ في قلبه، قام بأعمال الإسلام ، كما قال - صلى الله عليه وسلم - : (( ألا وإنَّ في الجَسَدِ مُضغةً ، إذا صَلحَتْ صَلَحَ الجسدُ كلُّه ، وإذا فَسَدتْ فسدَ الجَسَدُ كلُّه ، ألا وهي القَلبُ  ، 
อุละมาอฺกล่าวว่า "มุอฺมินทุกคนย่อมเป็นมุสลิมเสมอ" ใครที่ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด และอีมานมั่นคงในหัวใจแล้ว เขาต้องปฏิบัติกิจการต่างๆของอิสลามอย่างแน่นอน
เพราะท่านนบีกล่าวว่า "ในร่างกายมีเนื้อก้อนหนึ่ง ถ้าเนื้อก้อนนี้ดี ร่างกายก็ดีด้วย ...เนื้อก้อนนี้คือหัวใจ"

- เป็นมุสลิม แต่ไม่ใช่มุอฺมิน
فلا يتحقَّقُ القلبُ بالإيمان إلاَّ وتنبعِثُ الجوارحُ في أعمالِ الإسلامِ ، وليس كلُّ مسلمٍ مؤمناً ، فإنَّه قد يكونُ الإيمانُ ضعيفاً ، فلا يتحقَّقُ القلبُ به تحقُّقاً تامّاً مع عمل جوارِحِه بأعمال الإسلام ، فيكون مسلماً ، وليس بمؤمنٍ الإيمانَ التَّامَّ ، 
อิบนุร่อจับ "เมื่อหัวใจได้ประคองอีมานอย่างแท้จริงแล้วนั้น..."
ไม่ใช่มุสลิมทุกคน จะเรียกว่า มุอฺมิน ถ้าอีมานนั้นอ่อน หัวใจก็ไม่ประคองอีมานได้เต็มที่ ทั้งที่อวัยวะกำลังปฏิบัติอิสลามบางประการ ก็จะเป็นมุสลิมอย่างเดียว แต่ไม่ได้มุอฺมิน...

كما قال تعالى : { قَالَتِ الأَعْرَابُ آمَنَّا قُلْ لَمْ تُؤْمِنُوا وَلَكِنْ قُولُوا أَسْلَمْنَا وَلَمَّا يَدْخُلِ الإيمَانُ فِي قُلُوبِكُمْ }  ، ولم يكونوا مُنافقينَ بالكُلِّيةِ على أصحِّ التَّفسيرينِ، وهو قولُ ابنِ عبّاسٍ وغيره، بل كان إيمانُهم ضعيفاً ، 
ชาวอะอฺรอบ(อาหรับชนบท) อีมานยังไม่เข้าหัวใจ

ويدلُّ عليه قوله تعالى : { وَإِنْ تُطِيعُوا اللهَ وَرَسُولَهُ لا يَلِتْكُمْ مِنْ أَعْمَالِكُمْ شَيْئاً } ، يعني : لا ينقصُكم من أجورِها ، فدلَّ على أنَّ معهم من الإيمانِ ما تُقبَلُ به أعمالُهم .
- มีความรู้ ต้องเรียกผู้รู้มั้ย ? ผู้รู้/อุละมาอฺ ที่แท้จริง ?

- คนที่ไม่ทำอิบาดะฮฺ เรียกว่ามุสลิมได้มั้ย ?

نفي الإسلام والإيمان (นัฟยุลอิสลามวัลอีมาน) การปฏิเสธอิสลามและอีมาน

•    واسم الإيمان يُنفى عمّن تركَ شيئاً مِنْ واجباتِه ، كما في قوله - صلى الله عليه وسلم - : (( لا يزني الزاني حينَ يزني وهو مؤمنٌ)).وقد اختلف أهلُ السُّنَّة : هل يُسمَّى مؤمناً ناقصَ الإيمانِ ، أو يقال : ليس بمؤمنٍ ، لكنَّهُ مسلمٌ ، على قولين.
คนที่ไม่ปฏิบัติวาจิบบางอย่าง เช่น คนที่ทำซินา, กินริบา, ดื่มเหล้า ฯลฯ ยังเป็นมุสลิม แต่จะเรียกว่ามุอฺมินได้มั้ย ?

•    وأمَّا اسمُ الإسلامِ، فلا ينتفي بانتفاءِ بعض واجباتِهِ ، أو انتهاكِ بعضِ محرَّماته ، وإنَّما يُنفى بالإتيانِ بما يُنافيه بالكُلِّيَّةِ ، ولا يُعرَفُ في شيءٍ من السُّنَّةِ الصَّحيحةِ نفيُ الإسلامِ عمَّن تركَ شيئاً من واجباتِهِ ، كما يُنفى الإيمانُ عمَّن تركَ شيئاً من واجباتِهِ ، وإنْ كان قد وردَ إطلاقُ الكُفرِ على فعلِ بعض المحرَّماتِ ، وإطلاقُ النِّفاقِ أيضاً .
จะไม่เรียกว่า "มุสลิม" เมื่อทำสิ่งที่ขัดกับอิสลาม เช่น ทำชิริก

สรุป คนที่บกพร่องอะมั้ลบางประการ ไม่เรียกว่า มุอฺมิน
คนที่บกพร่องอะมั้ลบางประการ จะยึดคำว่า มุสลิม จากเขาไม่ได้

 •    واختلفَ العلماءُ : هل يُسمى مرتكبُ الكبائر كافراً كفراً أصغر أو منافقاً النِّفاق الأصغرَ ، ولا أعلمُ أنَّ أحداً منهم أجاز إطلاق نفي اسمِ الإسلام عنه ، إلاَّ أنَّه رُوي عن ابنِ مسعودٍ أنَّه قال : ما تاركُ الزَّكاةِ بمسلمٍ، ويُحتملُ أنَّه كان يراه كافراً بذلك ، خارجاً من الإسلام .وكذلك رُوي عن عمر فيمن تمكَّن مِنَ الحجِّ ولم يحجَّ أنَّهم ليسوا بمسلمين ، والظَّاهرُ أنّه كان يعتقد كفرَهم ، ولهذا أراد أنْ يضربَ عليهمُ الجزيةَ.
คนที่ทำบาปใหญ่บางประการ ? ยังเรียกว่าเป็น มุสลิม ?
- ให้เราระมัดระวังในการให้ตำแหน่งว่าใครเป็น มุสลิม มุอฺมิน หรือฟาซิก (ยกเว้นเมื่อมีความจำเป็น)

الإسلام والإيمان داخل أحدهما في الآخر
อิสลามและอีมาน อยู่ร่วมกัน

•    وخرَّج النَّسائيُّ مِنْ حديثِ عقبة بن مالك : أنَّ النَّبيَّ - صلى الله عليه وسلم - بعثَ سريّةً ، فغارت على قومٍ فقال رجلٌ منهم : إني مُسلمٌ ، فقتلهُ رجلٌ منَ السَّريَّةِ ، فنُمي الحديثُ إلى رسولِ اللهِ - صلى الله عليه وسلم - ، فقال فيه قولاً شديداً ، فقال الرجلُ : إنَّما قالها تعوُّذاً مِنَ القتل ، فقال النَّبيُّ - صلى الله عليه وسلم - : (( إنَّ الله أبى عليَّ أنْ أقتل مؤمناً )) ثلاث مرات.
- ท่านนบีส่งกองทัพ (สะรียะฮฺ,นบีไม่ได้ไปด้วย) ไปบุกเมืองหนึ่ง ชายคนนึงบอกว่า "ฉันเป็นมุสลิม" แต่ทหารมุสลิมฆ่าเขา  ท่านนบีทราบ ก็ตำหนิอย่างรุนแรง...

•    فلولا أنَّ الإسلام المطلق يدخُلُ فيه الإيمانُ والتَّصديقُ بالأصولِ الخمسةِ ، لم يَصِرْ مَنْ قالَ : أنا مسلمٌ مؤمناً بمجرَّدِ هذا القول ، وفي " سنن ابن ماجه "  عن عديِّ بن حاتمٍ ، قال : قال لي رسول الله - صلى الله عليه وسلم - : ((يا عديُّ، أسلم تسلم )) ، قلت : وما الإسلام ؟ قال : (( تشهدُ أنْ لا إله إلا الله، وتشهدُ أنِّي رسولُ الله ، وتؤمن بالأقدارِ كلِّها ، خيرها وشرِّها ، حلوِها ومرِّها )) فهذا نصٌّ في أنَّ الإيمان بالقدر مِنَ الإسلامِ .

"อิสลาม" กว้างๆ หมายรวมถึงอีมานด้วย 
อะดี อิบนุฮาติม "ท่านบีบอกว่า จงรับอิสลามเถิด ท่านจะปลอดภัย
เขาถามว่า อิสลามคืออะไร ท่านนบีตอบว่า อิสลามคือ ชะฮาดะฮฺ และศรัทธาต่อกอฎอกอดัรทั้งหลาย ทั้งดีและเลว หวานและขม มาจากอัลลอฮฺทั้งสิ้น

•    وسُئِل ابنُ عمرَ : هل كانتِ الصحابةُ يضحكون ؟ فقال : نعم والإيمانُ في قلوبهم أمثالُ الجبالِ. فأينَ هذا ممّن الإيمان في قلبه يَزنُ ذرَّةً أو شعيرةً ؟! كالّذينَ يخرجونَ من أهلِ التّوحيد مِنَ النارِ ، فهؤلاء يصِحُّ أنْ يُقالَ : لم يدخُلِ الإيمانُ في قُلوبهم لضعفِه عندهم .
 อิบนุอุมัรถูกถาม ศฮบ หัวเราะกันไหม ?  ท่านตอบว่า ใช่ เขาหัวเราะ แต่อีมานในหัวใจเสมือนภูเขาเหลายลูก
 

WCimage
ญามิอุลอุลูมวัลหิกัม ครั้งที่ 5 (หะดีษที่ 2/3)